อำเภอนาดูน
อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
วันจันทร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2554
พระบรมธาตุนาดูน
108 เส้นทางออมบุญ
ออมบุญเพื่อสิริมงคลแห่งชีวิต (อีสาน)
พระธาตุนาดูน มหาสารคาม
โดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
พระธาตุนาดูน มหาสารคาม
ภาคอีสานของบ้านเรานั้นถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีพระธาตุสำคัญมากมาย
ประดิษฐานอยู่ในจังหวัดต่างๆพระธาตุองค์หนึ่งที่ได้รับความเคารพสักการะจาก
ประชาชนอย่างแพร่หลาย ในด้านของความศักดิ์สิทธิ์และความเป็นสิริมงคลแห่ง
ชีวิตนั้นคือพระธาตุนาดูน ว่ากันว่าพระธาตุนาดูนนั้นถูกขุดค้นพบขึ้นจากเนินดิน
ประดิษฐานอยู่ในจังหวัดต่างๆพระธาตุองค์หนึ่งที่ได้รับความเคารพสักการะจาก
ประชาชนอย่างแพร่หลาย ในด้านของความศักดิ์สิทธิ์และความเป็นสิริมงคลแห่ง
ชีวิตนั้นคือพระธาตุนาดูน ว่ากันว่าพระธาตุนาดูนนั้นถูกขุดค้นพบขึ้นจากเนินดิน
ที่เป็นซากโบราณสถานกาลทุ่งนาแห่งบ้านนาดูน
โดยมีการค้นพบสถูปโลหะจำลองทรงกลมสูง 24.4 เซนติเมตร ภายใน
พบว่าบรรจุผอบถึงสามชั้นเรียงกันคือ ชั้นนอกสุดเป็นสัมฤทธิ์ ชั้นกลางเป็นเงิน
ชั้นในสุดเป็นทองคำ และเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่มีความงดงามยิ่ง
รวมไปถึงพระพิมพ์โบราณ ที่ด้านหลังพระพิมพ์บางองค์ยังมีจารึกเป็นภาษาขอม
โบราณและมอญโบราณ เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ทางพระพุทธศาสนา
ของดินแดนแห่งนี้ในอดีตกาล รัฐบาลกรมศิลปากร และชาวมหาสารคาม จึงร่วม
กันจัดสร้างพระธาตุนาดูนขึ้น ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้เพื่อเป็นปูชนียสถาน
และสิริมงคลต่อไป
พบว่าบรรจุผอบถึงสามชั้นเรียงกันคือ ชั้นนอกสุดเป็นสัมฤทธิ์ ชั้นกลางเป็นเงิน
ชั้นในสุดเป็นทองคำ และเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่มีความงดงามยิ่ง
รวมไปถึงพระพิมพ์โบราณ ที่ด้านหลังพระพิมพ์บางองค์ยังมีจารึกเป็นภาษาขอม
โบราณและมอญโบราณ เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ทางพระพุทธศาสนา
ของดินแดนแห่งนี้ในอดีตกาล รัฐบาลกรมศิลปากร และชาวมหาสารคาม จึงร่วม
กันจัดสร้างพระธาตุนาดูนขึ้น ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้เพื่อเป็นปูชนียสถาน
และสิริมงคลต่อไป
ในบริเวณเดียวกันยังมีศูนย์พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมจัมปาศรีที่เก็บรักษาโบราณวัตถุ
ศิลปวัตถุที่ค้นพบและเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับอาณาจักรจัมปาศรีนครโบราณในสมัยทวาราวดี
ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-16ซึ่งได้มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีกระจายตัวอยู่หลาย
แห่งโดยเฉพาะในเขตอำเภอนาดูน ได้แก่ กู่สันต-รัตน์ กู่น้อย ศาลานาขาว พระพิมพ์ดินเผา
สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตลอดจนบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์เป็นต้น
ศิลปวัตถุที่ค้นพบและเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับอาณาจักรจัมปาศรีนครโบราณในสมัยทวาราวดี
ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-16ซึ่งได้มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีกระจายตัวอยู่หลาย
แห่งโดยเฉพาะในเขตอำเภอนาดูน ได้แก่ กู่สันต-รัตน์ กู่น้อย ศาลานาขาว พระพิมพ์ดินเผา
สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตลอดจนบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์เป็นต้น
สถานที่ตั้ง
บ้านนาดูน ต.พระธาตุ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม ห่างจากตัวจังหวัด ราว 65 กม.
ความเชื่อและวิธีการบูชา
หากท่านได้มาเยือนถึงบ้านนาดูนแห่งนี้ ควรมานมัสการพระธาตุนาดูนสักครั้ง
เพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งชีวิตและขอพรให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
เพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งชีวิตและขอพรให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ
คาถาบูชาพระธาตุนาดูน
(ท่อง นะโม 3 จบ) อะตีเตกิระ จัมปาสีนะคะเร สัมมาสัมพุทธะ สารีริกธาตุ
นาตะละนามัง นะคะระฐาเนวะ มะหาสารัคามัง นะคะระสีมัง ปัจจุบันนัญจะ
สิระสานะมามิ (สิระสานะมามะ)
นาตะละนามัง นะคะระฐาเนวะ มะหาสารัคามัง นะคะระสีมัง ปัจจุบันนัญจะ
สิระสานะมามิ (สิระสานะมามะ)
เทศกาลงานประเพณี
งานนมัสการพระธาตุจัดขึ้นในช่วงวันมาฆบูชาของทุกปี (ขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 )
ของทุกปีรวม 9 วัน 9 คืน
ของทุกปีรวม 9 วัน 9 คืน
แก้ไขโดย นางสาวจิระภา ปาจุติ
ศาลานางขาว
ประวัติความเป็นมา
สมัยทวาราวดี
เริ่มตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้นมา ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้รับวัฒนธรรมทางพุทธศาสนา และศาสนาฮินดูเข้ามา พบร่องรอยชุมชนขนาด
ใหญ่มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ และพบโบราณสถานในพทูธศาสนา เช่น เสมาหิน โบสถ์
วิหาร และสถูปเจดีย์ หลายแห่ง เมืองสำคัญในเขตจังหวัด มหาสารคามคือเมือง
นครจัมปาศรี อยู่ในพื้นที่อำเภอนาดูน เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่สมัยทวาราวดี
มีคูน้ำล้อมรอบและอาศัยสืบต่อจนถึงสมัยลพบุรี มีซากเจดีย์สมัยทวาราวดีหลายแห่ง
กลางเมืองมีเนินศาสนสถานก่อด้วยศิลาแลงเรียกว่า ศาลานางขาว ณ ที่นี้ได้พบศิลา
จารึกขอม มีพระนามกษัตริย์พระบาทกับแตงอัญศรีชัยวรมันเทวะซึ่งอาจหมายถึง
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๕ หรือที่ ๖
สถานที่ตั้ง
ทางเหนือประมาณ500เมตร อยู่ที่บ้านกู่โนนเมือง ตำบลกู่สันตรัตน์ อำเภอนาดูน
อยู่ในเขตคันดินเมืองโบราณจัมปาศรี อยู่ในพื้นที่อำเภอนาดูนโบราณสถานศาลา
นางขาว ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติเมื่อ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘
จาก http://web.debsirin.ac.th/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)